
สาขาวิชาเทคโนโลยีก่อสร้าง คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เปิดสอนหลักสูตรอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีก่อสร้าง ตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2548 ได้ปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ในปีการศึกษา 2555 และได้ปรับปรุงหลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี ในปีการศึกษา 2560 จนถึงบัดนี้ เพื่อเป็นการพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัย สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน ตลาดแรงงาน และการเข้าสู่การเป็นประชาคมอาเซียน สาขาวิชา ฯ จึงดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมการก่อสร้าง โดยปรับปรุงเพิ่มเติมวิชาให้มีความความทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานมากขึ้น โดยข้อคิดเห็นและคำแนะนำต่าง ๆ สาขาวิชา ฯ ได้รับการวิพากษ์จากผู้ทรงคุณวุฒติในสาขาวิชาของหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ภาษาไทย ชื่อเต็ม วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมการก่อสร้าง)
ชื่อย่อ วศ.บ. (วิศวกรรมการก่อสร้าง)
ภาษาอังกฤษ ชื่อเต็ม Bachelor of Engineering (Construction Engineering)
ชื่อย่อ B. Eng. (Construction Engineering)
นักเรียน นักศึกษาผู้ที่สนใจสมัครเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ในหลักสูตร วศ.บ. วิศวกรรมการก่อสร้าง สามารถเข้าดูรายละเอียดได้ที่ ” http://entrance.nrru.ac.th/entrance/” โดยมีรายละเอียดให้สำหรับผู้ที่สนใจอย่างครบถ้วน
มาเรียนกันเยอะๆ นครับ
1. ระบบกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
ระบบ e-studentloan | |
![]() | ระบบตรวจสอบยอดหนี้ |
![]() | ระบบตรวจสอบยอดหนี้ |
2. ระบบมหาวิทยาลัย
![]() | ระบบบริการการศึกษา |
![]() | ระบบกิจการนักศึกษา |
3. เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง
![]() | กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา |
อัตราค่าธรรมเนียมการศึกษา สำหรับนักศึกษาปริญญาตรี สามารถเข้าดูรายละเอียดได้ที่ Click ที่นี่
อาคารปฏิบัติการรวม อาคาร 38
[ ] ห้องพักอาจารย์ชั้น 5
[ ] หน่วยบริการวิชาการทดสอบวัสดุก่อสร้าง ชั้น 1
บัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมการก่อสร้าง สามารถประกอบอาชีพในหน่วยงานต่างๆ โดยไม่ใช้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมได้ดังนี้
- อาชีพในหน่วยงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ เช่น วิศวกรโครงการก่อสร้าง ผู้ช่วยวิศวกรโครงการก่อสร้าง ช่างเขียนแบบ ช่างสำรวจ ช่างรังวัด ผู้ประมาณการ ผู้คุมงานก่อสร้าง และนักวิชาการการศึกษาประจำห้องปฏิบัติการ เป็นต้น ที่ไม่ใช้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
- อาชีพในหน่วยงานภาคเอกชน เช่น วิศวกรโครงการก่อสร้าง ผู้ช่วยวิศวกรโครงการก่อสร้าง วิศวกรฝ่ายขาย วิศวกรประจำห้องปฏิบัติการ ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง ผู้จัดการโครงการก่อสร้าง และผู้บริหารโครงการก่อสร้าง เป็นต้น ที่ไม่ใช้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
- อาชีพอิสระ เช่น ผู้ประกอบกิจการวัสดุก่อสร้าง ผู้ประกอบการธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง งานเขียนแบบทางวิศวกรรม และผู้ประมาณราคางานก่อสร้าง เป็นต้น ที่ไม่ใช้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
- หลักสูตร
![]() |
หลักสูตร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา วิศวกรรมการก่อสร้าง
ใช้ระยะเวลาในการสำเร็จการศึกษาไม่เกิน 8 ปี
- วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมการก่อสร้าง)
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 132 หน่วยกิต
- โครงสร้างหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมการก่อสร้าง)
1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป | ไม่น้อยกว่า | 30 หน่วยกิต | |
– กลุ่มวิชาภาษา | 9-14 หน่วยกิต | ||
– กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | 11-16 หน่วยกิต | ||
– กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | 5-10 หน่วยกิต | ||
2) หมวดวิชาเฉพาะ | 101 หน่วยกิต | ||
– กลุ่มวิชาพื้นฐานทางวิศวกรรมศาสตร์ | 18 หน่วยกิต | ||
– กลุ่มวิชาบังคับทางวิศวกรรมศาสตร์ | 43 หน่วยกิต | ||
– กลุ่มวิชาเลือกทางวิศวกรรมศาสตร์ | 34 หน่วยกิต | ||
– กลุ่มวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ | 6 หน่วยกิต | ||
3) หมวดวิชาเลือกเสรี | ไม่น้อยกว่า | 6 หน่วยกิต | |
ข้อมูลอาชีพวิศวกรก่อสร้าง และงานโยธา บัณฑิตที่จบสาขาวิชาวิศวกรรมการก่อสร้าง สามารถประกอบอาชีพต่างๆ ได้ดังนี้
- อาชีพในหน่วยงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ เช่น วิศวกรโครงการก่อสร้าง ผู้ช่วยวิศวกรโครงการก่อสร้าง ช่างเขียนแบบ ช่างสำรวจ ช่างรังวัด ผู้ประมาณการ ผู้คุมงานก่อสร้าง และนักวิชาการการศึกษาประจำห้องปฏิบัติการ เป็นต้น ที่ไม่ใช้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
- อาชีพในหน่วยงานภาคเอกชน เช่น วิศวกรโครงการก่อสร้าง ผู้ช่วยวิศวกรโครงการก่อสร้าง วิศวกรฝ่ายขาย วิศวกรประจำห้องปฏิบัติการ ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง ผู้จัดการโครงการก่อสร้าง และผู้บริหารโครงการก่อสร้าง เป็นต้น ที่ไม่ใช้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
- อาชีพอิสระ เช่น ผู้ประกอบกิจการวัสดุก่อสร้าง ผู้ประกอบการธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง งานเขียนแบบทางวิศวกรรม และผู้ประมาณราคางานก่อสร้าง เป็นต้น ที่ไม่ใช้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
- การขอรับใบอนุญาติเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ระดับภาคีวิศวกรพิเศษ
- เอกสาร ที่เกี่ยวข้อง
ชุดคำขอสมัคร สมาชิกพร้อมการขอรับใบอนุญาตระดับภาคีวิศวกรพิเศษ
หลักเกณฑ์และแนวทางการขอรับใบอนุญาตฯ ระดับภาคีวิศวกรพิเศษ (สาขา วิศวกรรมโยธา) ข้อแนะนำในการจัดทำเอกสารการนำเสนอโครงการเพื่อประกอบการขอรับใบอนุญาตฯ ระดับภาคีวิศวกรพิเศษ (การจัดทำโครงการดีเด่น) วิศวกรโยธา

L